นักวิจัย มมส ร่วมกับทีมค้นพบพืชวงขิง “เปราะนภาวรรณ”𝐾𝑎𝑒𝑚𝑝𝑓𝑒𝑟𝑖𝑎𝑛𝑎𝑝𝑎𝑣𝑎𝑟𝑛𝑖𝑎𝑒 Saensouk, P.Saensouk & Boonma” เป็นพืชชนิดใหม่ของโลก เป็นพืชถิ่นเดียว […]
Category: งานวิจัยเด่น
นักวิจัย มมส ค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่ตัวที่ 13 ของไทย
นักวิจัย มมส ค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่ตัวที่ 13 ของไทย โดยมีชื่อว่า “มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส” (Minimocursorphunoiensis gen. […]
นักวิจัย มมส ค้นพบค้นพบหอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลก จากแม่น้ำชี
นักวิจัย มมส ค้นพบค้นพบหอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลก จากแม่น้ำชี บริเวณบ้านท่าขอนยาง และบ้านท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม หอยกาบน้ำจืดขนาดใหญ่ชนิดใหม่ของโลกนี้มีความยาวของเปลือกถึง 21 เซนติเมตร […]
น้ำมันแกว การแปรรูปด้วยเทคโนโลยี Thermal Process อุดมด้วยคุณค่าทางโภชนาการ ไร้วัตถุกันเสีย
นักวิจัยเก่ง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำมันแกวมายกระดับศักยภาพ กลุ่มผู้ปลูกมันแกวคุณภาพดีสู่การเพิ่มมูลค่าเครื่องดื่มฟังก์ชันมันแกวเพื่อสุขภาพ ส่งเสริมกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดมหาสารคาม ภายใต้การจัดทำโครงการบริการวิชาการแบบบูรณาการ เพื่อสร้างนวัตกรรม และชุมชนต้นแบบสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน นักวิจัยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มาวิจัยและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับมันแกว โดยการนำมันแกวมาทำน้ำมันแกวเพื่อสุขภาพ […]
สารสกัดจากใบลิ้นฟ้าต้านเซลล์มะเร็ง
นักวิจัยเก่ง มมส สร้างงานวิจัยนำสมุนไพรไทยมาสกัดยาต้านเซลมะเร็ง จาก เพกาหรือลิ้นฟ้าบ้านเราที่รู้จักกันทั่วไปเป็นอย่างดี แต่ใครจะรู้ล่ะว่า เพกาหรือลิ้นฟ้า สมุนไพรไทยหรือผักที่คนไทยรับประทานอยู่แล้ว จะสามารถนำมาหาสารสกัด มาศึกษาฤทธิ์ของสารจากธรรมชาติในการยับยั้งหรือต่อต้านการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้เป็นอย่างดี […]
นักวิจัย มมส สร้างงานวิจัยเด่น โดยการสร้างกระบวนการบำบัดพื้นผิวโลหะผสมไทเทเนียมด้วยการทำพลาสมาไนไตรดิงโดยใช้ไบโพลาร์พัลส์พลาสมา เป็นโลหะผสมไทเทเนียมนิยม
นักวิจัยเก่ง มมส สร้างงานวิจัยเด่น โดยการสร้างกระบวนการบำบัดพื้นผิวโลหะผสมไทเทเนียมด้วยการทำพลาสมาไนไตรดิงโดยใช้ไบโพลาร์พัลส์พลาสมา เป็นโลหะผสมไทเทเนียมนิยมที่นำไปใช้เป็นอุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนทางการแพทย์ เนื่องจากสมบัติที่โดดเด่นในเรื่องของความแข็งแรง และต้านทานการกัดกร่อนได้ดี โดย ผศ.ดร.อาทิตย์ […]
นักวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบหอบหางดิ้นสีนิล: หอยทากบกชนิดใหม่ของโลก
นักวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค้นพบหอบหางดิ้นสีนิล: หอยทากบกชนิดใหม่ของโลก จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หอยหางดิ้นสีนิลเป็นหอยทากบกที่อยู่ในช่วงกึ่งกลางวิวัฒนาการระหว่างหอยทากบกกับทากเปลือย เปลือกลดรูปลง มีแมนเทิลคลุมเปลือก เปลือกมีสีน้ำตาลถึงสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวมีสีดำเข้ม มีพฤติกรรมที่น่าสนใจ คือ […]
นักวิจัย มมส. ศึกษาการดูดซับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์บนแผ่นนาโนโบรอนไนไตรด์เจือโลหะแทรนซิชัน
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการดูดซับแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์บนแผ่นนาโนโบรอนไนไตรด์เจือโลหะแทรนซิชัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ วันโน ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงทฤษฎี […]
นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มมส ศึกษาการขยายพันธุ์ในหลอดทดลอง และฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นของปราบสมุทร
รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพร แสนสุข ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปราบสมุทร (𝐾𝑎𝑒𝑚𝑝𝑓𝑒𝑟𝑖𝑎 𝑎𝑛𝑔𝑢𝑠𝑡𝑖𝑓𝑜𝑙𝑖𝑎) เป็นพืชในสกุลเปราะ […]
กรมทรัพยากรธรณี ร่วมกับ มมส ค้นพบไดโนเสาร์สายพันธุ์ไทยตัวที่ 13 ของไทย
การค้นพบไดโนเสาร์สายพันธุ์ไทยตัวที่ 13 ของไทย จากก้อนหินหินขนาดเล็กที่ถูกโคลนพอกไม่อยู่ในสายตาและคัดทิ้งไว้ในแหล่งขุดค้นซากดึกดำบรรพ์ภูน้อยด้วยความบังเอิญและช่างสังเกตของทีมสำรวจนักบรรพชีวินวิทยาจึงหยิบกลับขึ้นมาศึกษากลายมาเป็นนักวิ่งตัวจ้อยแห่งภูน้อย “มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส” (Minimocursor phunoiensis) ไดโนเสาร์กินพืชขนาดเล็ก กลุ่มกระดูกเชิงกรานแบบนกหรือออร์นิธิสเชียน […]