- เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมที่โดดเด่นด้านการวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ
ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง มุ่งเป้าความเป็นเลิศและผู้นำทางวิชาการเป็นที่ยอมรับในวงวิชาการระดับประเทศและนานาชาติ โดยดำเนินโครงการวิจัยที่ทำกับมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานหรือองค์กรในประเทศและต่างประเทศ - เพื่อยกระดับผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ SCOPUS/ISI Q1 จากนักวิจัย จำนวน 20 เรื่อง รวมถึงเพิ่มค่าเฉลี่ย H-index ในฐานข้อมูล Scopus ของนักวิจัยในศูนย์ความเป็นเลิศ
- เพื่อผลิตผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ISI Q1 ภายใต้การให้คำปรึกษาของผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ (Visiting Professor) และเพิ่มการอ้างอิงผลงานวิจัย (citation) ที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติ เป้าหมาย 300 ครั้งต่อปี
- แผนการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ที่มีองค์ประกอบทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน วิธีการบริหารจัดการศูนย์ และแนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์เพื่อสนับสนุนแผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย จำนวน 1 แผน
5.5 เพื่อเป็นศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางความหลากหลายทางชีวภาพขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์เพื่อสนับสนุนแผนการพลิกโฉมมหาวิทยาลัย
ผู้ประสานงาน รศ.ดร.วีระชัย สายจันทา เบอร์ติดต่อ 086-3885407